วันเสาร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ประวัติส่วนตัว

                                        ประวัติส่วนตัว


   .ช.ปณวัฒน์   ธนาวุฒิ   (เดียร์)    อายุ 13  ปี    เกิด  15/02/2544


ศึกษาอยู่ ชั้น  ม.1 โรงเรียน สุรษฎร์พิทยา  

ที่อยู่  ม. 3  ต.วัดประดู่  อ. เมือง  จ.สุรษฎร์ธานี    

ชอบ   อาหาร     เเกงจืดหมูสับ
           ขนม        ลูกชุบ
           คน           ไม่บอก..
           ดารา        เจมส์     มาร์
           เพลง        หัวใจเเตกใบอ่อน
           ดอกไม้     ลีลาวดี
           สี               ขาว

 งานอดิเรก            อ่านหนังสือ(การ์ตูน)

อาชีพ    นักเรียน

สถานะ    โสด   

วันศุกร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สัตว์ปล่อยมีเทน

ก๊าซชีวภาพ (อังกฤษBio gas หรือ dig ester gas) หรือ ไบโอก๊าซ คือ ก๊าซที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากการหมักย่อยสลายของสารอินทรีย์ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน(anaerobic digestion) โดยทั่วไปจะหมายถึง ก๊าซ มีเทน ที่เกิดจาก การหมัก (fermentation) ของ สารอินทรีย์ โดยกระบวนการนี้สามารถเกิดขึ้นได้ในหลุมขยะ กองมูลสัตว์ และก้นบ่อแหล่งน้ำนิ่ง กล่าวคือเมื่อไหร่ก็ตามที่มีสารอินทรีย์หมักหมมกันเป็นเวลานานก็อาจเกิดก๊าซชีวภาพ แต่นี่เป็นเพียงแค่หลักการทางทฤษฏี

องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สมีเทน(CH4) ประมาณ 50-70% และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)ประมาณ 30-40% ส่วนที่เหลือเป็นแก๊สชนิดอื่น ๆ เช่น ไฮโดเจน(H2) ออกซิเจน(O2) ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) ไนโตรเจน(N) และไอน้ำ
ก๊าซชีวภาพมีชื่ออื่นอีกคือ ก๊าซหนองน้ำ และ มาร์ชก๊าซ (marsh gas) ขึ้นกับแหล่งที่มันเกิด กระบวนการนี้เป็นที่นิยมในการเปลี่ยน ของเสีย ประเภทอินทรีย์ทั้งหลายไปเป็นกระแสไฟฟ้านอกจากกำจัดขยะได้แล้วยังทำลาย เชื้อโรค ได้ด้วย การใช้ก๊าซชีวภาพเป็น การบริหารจัดการของเสีย ที่ควรได้รับการสนับสนุนเพราะไม่เป็นการเพิ่มก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ในชั้นบรรยากาศที่เป็นต้นเหตุของ ปรากฏการณ์เรือนกระจก(greenhouse effect) ส่วนการเผาไหม้ ก๊าซชีวภาพ ซึ่งมีก๊าซมีเทนเป็นส่วนประกอบหลักจะสะอาดกว่า

                                                 

ความเป็นมาของการผลิตก๊าซชีวภาพ